วิธีง่ายที่สุดในการเข้าถึงเครื่อง Windows 10 จากระยะไกลผ่านเครือข่ายคือการใช้เดสก์ท็อประยะไกล (Remote Desktop) ซึ่งตามปกติแล้วหลังจากเปิดใช้งานเดสก์ท็อประยะไกลคุณก็จะสามารถเชื่อมต่อกับเครื่อง Windows 10 ปลายทางได้ทันที แต่บางกรณีคุณจะไม่สามารถเชื่อมต่อได้โดยขึ้นข้อความ Remote Desktop can’t connect to the remote computer for one of these reasons (ดูรูปที่ 2 ประกอบ) ปัญหานี้เกิดจากสาเหตุใดและมีวิธีแก้ปัญหาได้อย่างไร วันนี้ผมมีรายละเอียดมาฝากครับ
Browsing: Windows
ไมโครซอฟท์ออก Windows 10 Insider Preview Build 10532 ซึ่งเป็นบิลด์ทดสอบตัวที่ 2 ที่ออกหลังจาก Windows 10 เวอร์ชันเต็ม โดยบิลด์ 10532 นั้นเป็นการปรับปรุงการทำงานเช่น ปรับปรุงเมนูคลิกขวา (Context Menus) ให้ทันสมัยมากขึ้น แอป Windows Feedback สามารถแชร์ฟีดแบ็คกับแอปอื่นได้ และแก้ไขบั๊กต่างๆ แต่บิลด์ 10532 นี้ออกให้เฉพาะผู้ใช้ที่ตั้งค่าวงแหวน (Ring) เป็น Fast เท่านั้น ผู้ใช้จะต้องเชื่อมต่อ Microsoft Account (MSA) ก่อนจึงจะได้รับอนุญาตให้ติดตั้งบิลด์ใหม่นี้ได้
สำหรับคนที่ได้อัปเกรดหรือได้ทดสอบ Windows 10 คงจะสังเกตเห็นได้ชัดเจนว่าเมนูเริ่ม (Start) แถบงาน (Taskbar) และศูนย์ปฏิบัติการ (Action Center) ของ Windows 10 มีลักษณะโปร่งแสง แต่ถ้าถามว่าเอฟเฟ็กต์นี้สวยหรือไม่คำตอบที่ได้คงจะนานาจิตตังครับ คนที่ชอบคงบอกว่าสวยส่วนคนไม่ชอบก็คงจะบอกไม่สวย และถ้าคุณอยู่ในกลุ่มที่ไม่ชอบคุณสามารถปิดเอฟเฟ็กต์โปร่งแสงนี้ได้ง่ายๆ ตามขั้นตอนดังนี้ครับ
วันนี้ผมมีวิธีการเปิดใช้งานเดสก์ท็อประยะไกล (Remote Desktop) บน Windows 10 มาฝาก ซึ่งหลังจากเปิดใช้งานเดสก์ท็อประยะไกลแล้วคุณก็จะสามารถเข้าถึงเครื่องพีซี Windows 10 จากระยะไกลผ่านทางระบบเครือข่ายได้ ทำให้สามารถจัดการเครื่องพีซีฝั่งปลายทางได้โดยไม่ต้องเสียเวลาเดินไปยังเครื่องพีซีเหล่านั้นครับ
หลังจากคุณได้ทำการ เพิ่มภาษาไทยบน Windows 10 เสร็จแล้ว โดยเริ่มต้นคุณสามารถสลับการทำงานระหว่างภาษาอังกฤษกับภาษาไทย (ENG-Thai) ได้โดยการกดปุ่ม Windows + Space bar แต่ในการใช้งานจริงนั้นคุณคงต้องการการกดปุ่ม Grave Accent (~) เพื่อสลับภาษาอังกฤษ-ไทยมากกว่าเพราะเป็นวิธีที่สะดวกกว่าและใช้งานมานานจนเป็นที่คุ้นเคยชนิดที่บางครั้งมือกดเองโดยอัตโนมัติ
โดยปกติแล้วถ้าคุณ อัปเกรดเป็น Windows 10 จาก Windows 7 หรือ 8.1 คุณน่าจะสามารถใช้งานภาษาไทยได้ในทันทีแต่ถ้าคุณ ติดตั้ง Windows 10 ใหม่ (Clean Install) คุณอาจจะต้องทำการเพิ่มภาษาไทยเอง (นอกเสียจากว่าคุณมีคนทำให้) ตามขั้นตอนด้านล่างครับ
ไมโครซอฟท์ออก Windows 10 Insider Preview Build 10525 ซึ่งเป็นบิลด์ใหม่ตัวแรกหลังออก Windows 10 เวอร์ชันเต็มเมื่อ 29 กรกฎาคม ที่ผ่านมา บิลด์ 10525 มีการเปลี่ยนแปลงคือ เพิ่ม Color option, ปรับปรุง Memory Manager และแก้ไขบั๊กต่างๆ โดยบิลด์ 10525 นี้ออกให้เฉพาะผู้ใช้ที่ตั้งค่าวงแหวนเป็น Fast (Fast Ring Insiders) เท่านั้น และผู้ใช้จะต้องเชื่อมต่อ Microsoft Account (MSA) ที่ใช้ลงทะเบียน Windows Insider Program ก่อนจึงจะได้รับอนุญาตให้ติดตั้งบิลด์ใหม่นี้ได้
อัพเดต (6 สิงหาคม 2559): ไฟล์อิมเมจ ISO ที่ได้จากการดาวน์โหลดตามวิธีการในบทความนี้ เป็นไฟล์อิมเมจ ISO เวอร์ชันอย่างเป็นทางการ (Official) ของ Windows 10 Anniversary Update (Version 1607) ซึ่งออกเมื่อวันที่ 2 สิงหาคม ที่ผานมา 18 สิงหาคม 2558: สวัสดีครับ วันนี้ผมมีวิธีการดาวน์โหลดไฟล์ Windows 10 ISO ของแท้จากลิงค์ตรง (Direct Link) ของเว็บไซต์ไมโครซอฟท์มาแนะนำครับ โดยวิธีการนี้จะใช้เบราเซอร์ในการดาวน์โหลดซึ่งเป็นวิธีที่คุ้นเคยกับผู้ใช้เป็นอย่างดี และถือว่าเป็นอีกทางเลือกนอกเหนือจาก การดาวน์โหลดไฟล์ Windows 10 ISO ด้วย Media creation tool ครับ
ผมได้แนะนำ Office 365 Video ในส่วนที่เกี่ยวข้องการผู้ใช้ไปแล้วในตอนก่อน (ใครยังไม่ได้อ่านย้อนกลับไปอ่าน ที่นี่ ครับ) สำหรับตอนนี้จะว่ากันต่อในเรื่องเกี่ยวกับการจัดการแชนแนล เช่น ชื่อแชนแนล, สีแชนแนล หรือการกำหนดสิทธิ์ เป็นต้น ซึ่งเป็นส่วนของผู้ดูแชนแนลครับ
อัปเดต: สำหรับผู้ใช้ Windows 10 เวอร์ชัน 1709 (Fall Creator Update) อ่าน วิธีเปลี่ยน Network Location ในการติดตั้ง Windows 10 นั้นระบบจะตั้งค่าตำแหน่งบนเครือข่าย (Network Location) ให้โดยอัตโนมัติ ซึ่งส่วนใหญ่แล้วจะตั้งค่าเป็น Public network เพื่อความปลอดภัย แต่การตั้งค่าดังกล่าวนี้ทำให้คุณไม่สามารถใช้งานคุณสมบัติบางอย่าง เช่น HomeGroup เป็นต้น ดังนั้นถ้าคุณต้องการใช้งานคุณสมบัติหรือบริการที่ไม่มีบน Public network คุณจะต้องทำการเปลี่ยนค่าตำแหน่งบนเครือข่ายเป็น Private network ด้วยตนเอง