Browsing: Server Core

สวัสดีครับ วันนี้มีประสบการณ์การแก้ปัญหา เกิดข้อผิดพลาด 0xc0000185 และการทำงานค้างที่ 9% เมื่อทำการติดตั้งระบบปฏิบัติการเกสต์บนคอมพิวเตอร์เสมือน (Virtual Machine) บนระบบ Hyper-V มาแบ่งปัน เผื่อว่ามีใครประสบปัญหาในลักษณะเดียวกันนี้จะได้ใช้เป็นแนวทางในการแก้ไขโดยไม่ต้องเสียเวลา (มาก) เหมือนผมครับ

ก่อนหน้านี้ผมได้แนะนำวิธีการติดตั้ง Windows Server 2016 Technical Preview 4 ซึ่งออกเมื่อ 19 พฤศจิกายน 2558 ไปแล้ว สำหรับในเรื่องนี้จะขอสรุปคุณสมบัติใหม่และการปรับปรุงการทำงานที่มีในเวอร์ชันดังกล่าวมาฝากครับ

สวัสดีครับ ผมมีโอกาสได้ทำการติดตั้ง Windows Server 2016 Technical Preview 3 ซึ่งออกเมื่อวันที่ 19 สิงหาคม 2558 ที่ผ่านมา โดยในการติดตั้งครั้งนี้ผมได้ทดลองติดตั้งทั้งโหมด Server Core และ Server with Desktop Experience (เทียบเท่า Server with a GUI) จึงขอนำประสบการณ์มาแบ่งปันแก่ผู้อ่านทุกๆ คนครับ

วันนี้ผมมีประสบการณ์การใช้งาน Hyper-V บน Windows Server 2012 R2 ที่ติดตั้งแบบ Server Core มาฝาก ซึ่งเป็นเทคนิคการสร้างโฟลเดอร์ที่ผมค้นพบโดยบังเอิญในขณะที่พยายามทำการส่งออกคอมพิวเตอร์เสมือน (Virtual Machine) ครับ

ก่อนหน้านี้ผมได้แนะนำให้ทราบแล้วว่า การติดตั้ง Windows Server 2016 Technical Preview 2 นั้นมี 2 โหมด คือ Windows Server Technical Preview 2 ซึ่งเทียบเท่า Server Core และ Windows Server Technical Preview 2 (with local admin tool) ซึ่งเทียบเท่า Minimal Server Interface คำถามที่ตามมาคือ สามารถติดตั้ง Server with a GUI ซึ่งมีอินเทอร์เฟซแบบกราฟิกอย่างเต็มรูปแบบได้หรือไม่ ตอบว่าได้ครับ โดยมีขั้นตอนการทำดังรายละเอียดด้านล่างครับ

ถ้าใครได้มีโอกาสติดตั้ง Windows Server 2016 Technical Preview 2 (ขออนุญาตเรียกว่า Windows Server Technical Preview 2 เพื่อความสะดวกนะครับ) ซึ่งไมโครซอฟท์ออกเมื่อวันที่ 4 พฤษภาคม 2558 ที่ผ่านมาจะสังเกตถึงความเปลี่ยนแปลงได้ชัดเจนถึงตัวเลือกการติดตั้ง นั้นคือ จะไม่มีโหมดติดตั้ง Server with a GUI เหมือนกับในเวอร์ชัน Technical Preview ส่วนใครที่ยังไม่ได้ลองแต่อยากทราบว่ามีความแตกต่างแบบไหน อย่างไร เชิญอ่านรายละเอียดได้จากด้านล่างครับ

สวัสดีครับ วันนี้ผมมีประสบการณ์เกี่ยวกับการแก้ปัญหาการสวิทช์โหมดการติดตั้ง Windows Server 2012 R2 มาแบ่งปันเพื่อให้ผู้ดูแลระบบเซิร์ฟเวอร์ระบบ Windows ที่ประสบปัญหาลักษณะเช่นนี้ได้ใช้เป็นแนวทางในการแก้ปัญหา โดยปัญหาที่ว่าคือ การติดตั้งเกิดความล้มเหลวหลังจากทำงานไปได้ประมาณ 68% ซึ่งมีรายละเอียดดังต่อไปนี้ครับ

สวัสดีครับ บทความนี้ผมรวบรวมมีคำสั่งหรือ cmdlet ของ PowerShell สำหรับใช้จัดการคอมพิวเตอร์เสมือน (Virtual Machine) บน Hyper-V ที่จะช่วยให้คุณจัดการระบบ Hyper-V ได้สะดวกรวดเร็วและง่ายขึ้น คำสั่งเหล่านี้สามารถใช้งานได้ทั้งบน Windows Server ที่ติดตั้งแบบ Server with a GUI หรือ Server Core ครับ

โดยปกติแล้วเราสามารถคอมพิวเตอร์เสมือน (Virtual Machine) บน Hyper-V ได้ทั้งการใช้ Hyper-V Manager ซึ่งเป็นเครื่องมือแบบกราฟิก (อ่านวิธีใช้ที่นี่) และ PowerShell ซึ่งเป็นเครื่องมือแบบบรรทัดคำสั่ง ซึ่งบทความนี้ผมมีวิธีการสร้างคอมพิวเตอร์เสมือนใหม่บน Hyper-V ด้วย PowerShell มาฝากเพื่อให้ท่านที่สนใจใช้เป็นแนวทางในการจัดการ Hyper-V (โดยเฉพาะผู้ที่ใช้งาน Hyper-V บน Server Core) ครับ

ผมมีโอกาสได้ทำการอัพเกรดเครื่องเซิร์ฟเวอร์* Windows Server 2012 เวอร์ชัน Standard ซึ่งติดตั้งแบบ Server with a GUI ไปเป็น Windows Server 2012 R2 แบบ In-place จึงนำประสบการณ์การดังกล่าวมาแบ่งปันกับผู้อ่าน การอัพเกรดมีขั้นตอนแบบไหน อย่างไร เชิญอ่านรายละเอียดได้จากด้านครับ